-
ชุมชนบ้านน้ำทรัพย์ จากพื้นที่ประสบปัญหาความล้มเหลวด้านการประกอบอาชีพ สู่การพลิกฟื้นระบบเศรษฐกิจชุมชน กับวิถีเศรษฐกิจพอเพียงและการทำเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
-
ชุมชนการค้าและเศรษฐกิจที่สำคัญมาตั้งแต่อดีต มีการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์เพื่อทำการค้าขาย ผู้คนภายในชุมชนมีการจัดโครงการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม บริเวณชุมชนปรากฏสถาปัตยกรรมประเภทเรือนไม้ และมีสถานที่สำคัญ ได้แก่ ศาลเจ้าแม่ล้านโป่ง ศาลเจ้าพ่อกวนอู และวัดคาทอลิกนักบุญยอเซฟ
-
ชุมชนเก่ามีโบราณสถานสำคัญในสมัยอยุธยา และยังมีภาพ Street Art ฝีมือศิลปินชาวเพชรบุรีวาดไว้ตามจุดต่าง ๆ ในตลาดอีกด้วย
-
บ้านพุองกะเป็นชุมชนที่โดดเด่นในการทำเกษตรแบบผสมผสาน ทั้งการทำสวน ปลูกผักและผลไม้ เพราะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และพุต้นน้ำ มีวัฒนธรรมของหลากหลายเชื้อชาติ รวมถึงมีเส้นทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ (ช่องเขาขาด) อยู่ด้านหลังวัดพุตะเคียนอีกด้วย
-
ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง หรือ “หมู่บ้านกะเหรี่ยง” ในเขตตำบลสองพี่น้อง ซึ่งในอดีตได้อพยพมาจากชายแดนพม่าและเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ทางฝั่งตะวันออกของอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน
-
หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงที่ยังมีการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นประเพณีความเชื่อต่างๆ และการแต่งกาย
-
ชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตกและเขตมรดกโลกทางธรรมชาติ ผืนป่าที่มีความสำคัญทั้งทางกายภาพ ความสมบูรณ์และความหลากหลายของพันธุ์พืช สัตว์ป่า และความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มคน เพราะนอกจากสิ่งมีชีวิตคือพืชพันธุ์และสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในผืนป่าแห่งนี้แล้ว ยังมีผู้คนอาศัยกระจายตัวและอาศัยอยู่ร่วมกับการพึ่งพิงธรรมชาติในผืนป่าทุ่งใหญ่นเรศวรเช่นกัน
-
ชุมชนชาวกะเหรี่ยงที่อยู่อาศัยร่วมกับชุมชนไทย โดยที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมของตนเองควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนในเชิงตั้งรับกับกระแสโลกาภิวัตน์
-
เป็นชุมชนที่มีชาวมุสลิมและชาวพุทธอาศัยอยู่ร่วมกัน มีข้าวหมกไก่เป็นอาหารขึ้นชื่อของชุมชน
-
ชุมชนริมน้ำเพชรบุรี เป็นชุมชนเก่ามีโบราณสถานสำคัญในสมัยอยุธยา และยังมีภาพ Street Art ฝีมือศิลปินชาวเพชรบุรีวาดไว้ตามจุดต่างๆ ในตลาดอีกด้วย
-
ชุมชนตลาดโพธาราม เป็นชุมชนดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ใกล้กับแม่น้ำแม่กลอง ถือเป็นย่านการค้าที่เจริญรุ่งเรืองมานานตั้งแต่ครั้งอดีต ภายในชุมชนมีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่น่าสนใจ ได้แก่ อาคารไม้ และอาคารโบราณอายุหลายร้อยปี ทั้งยังมีศาสนสถานที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้คนในชุมชน ได้แก่ วัดโพธิ์ไพโรจน์ วัดโชค และวัดไทรอารีรักษ์ นอกจากนี้ ยังมีเต้าหู้ดำ เป็นเมนูเด่นของชาวโพธาราม