-
ชุมชนมีความรู้ ภูมิปัญญา ทั้งการทอผ้า การตีมีด และแนวคิดในการอนุรักษ์และปกป้องพื้นที่ป่าอีกด้วย
-
ชุมชนบ้านย่าหมี ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชน โดยการใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการปกป้องสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง รวมถึงการจัดกิจกรรมและการรณรงค์ เพื่อสร้างความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมแก่สมาชิกของชุมชน
-
ชุมชนที่ตั้งซ้อนทับบนพื้นที่แหล่งถลุงโลหะในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ปัจจุบันสามารถพบเศษภาชนะเครื่องปั้นดินเผาและตระกรันเหล็กได้โดยรอบชุมชน
-
มีถั่วลิสงเป็นพืชประจำตำบล และได้แปรรูปถั่วลิสงเป็นผลิตภัณฑ์ขนมถั่วตัดเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน
-
ชุมชนที่พึ่งพิงธรรมชาติ ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ในพื้นที่บริเวณนี้นานมากกว่า 250 ปี สันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของบ้านเก๊าเดื่อเป็นชนเผ่า “ลัวะ”
-
ชุมชนที่ประสบความสำเร็จด้านขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบพอเพียงและวิถีด้านการเกษตรกรรม จึงได้รับการยกย่องให้เป็นชุมชนต้นแบบด้านการเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ
-
ชุมชนปกาเกอะญอที่อาศัยพึ่งพิงธรรมชาติ มีวิถีชีวิตการทำไร่หมุนเวียน เอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์เฉพาะตน
-
ชุมชนชาวญ้อ ผู้คนในชุมชนมีภาษาพูดของตนเองในการสื่อสารระหว่างกัน เรียกว่า ภาษาญ้อ มีวิถีชีวิตผูกพันกับธรรมชาติ มีวิถีวัฒนธรรมตามฮีตสิบสองคองสิบสี่ตามแบบชาวอีสาน
-
ชุมชนชาติพันธุ์ไทดำหรือลาวโซ่ง มีความเชื่อในผีแถนซึ่งเป็นรากฐานของประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่าง มีการทำหัตถกรรมชุมชนที่โดดเด่นและแตกต่าง เรียกว่า การทอผ้ากี่กระตุก
-
บ้านแม่ยางส้าน ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ (กะเหรี่ยงสะกอ) กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และภูมิปัญญาวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์