-
ป่าดงดิบ ไม้เบญจพรรณ ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านปางหมิ่นเหนือที่ยังคงอุดมสมบูรณ์ ด้วยสัตว์น้อยใหญ่นานาชนิดและพืชสมุนไพรพื้นบ้านที่หลากหลาย
-
หมู่บ้านที่มีบึงน้ำเป็นแนวยาวตลอดทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน อีกทั้งมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลาง อาทิ การบวงสรวงดวงวิญญาณเจ้าพ่อศรีเทพ งานบุญผะเหวด
-
"พระธาตุคู่ดูสง่า น้ำตกแม่สุกงามตา สำเนียงภาษาบอกถิ่น หมู่บ้านแม่คู่แผ่นดิน ลิ้นจี่ดีมีมากมาย หลากหลายผลิตภัณฑ์"
-
ชุมชนชาติพันธุ์ไทดำหรือลาวโซ่ง มีความเชื่อในผีแถนซึ่งเป็นรากฐานของประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่าง มีการทำหัตถกรรมชุมชนที่โดดเด่นและแตกต่าง เรียกว่า การทอผ้ากี่กระตุก
-
เรื่องราวทางประวัติศาสตร์การสู้รบในอดีต ประกอบกับรัฐมีแนวคิดที่จะทำให้ชุมชนกับรัฐอยู่ร่วมกันได้ จึงนำชุมชนเข้ามาร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าร่วมกัน โดยปลูกต้นนางพญาเสือโคร่ง และนำวัฒนธรรมที่มีในชุมชนมาสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยว
-
-
บ้านท่าประทายเป็นชุมชนที่มีการพัฒนามาจากพื้นที่ป่ารกทึบ และเป็นพื้นที่ริมแม่น้ำชีและยังเป็นท่าน้ำสำหรับผู้คนที่เดินเรือผ่านมาพักซื้อขายสินค้าหรือพักเรือระหว่างเดินทาง
-
การตั้งถิ่นฐานอยู้ริมแม่น้าลำคลอง ซึ่งเป็นที่ราบลุ่มเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม อยู่รวมกันเป็นกลุ่มที่ตำบลป่าตาลแห่งนี้จากการที่บรรพบุรุษได้อพยพมาจากเวียงจันทน์จึงได้นำวัฒนธรรมของชาวเวียงจันทน์มาใช้ในการดำรงวิถีชีวิต
-
ชุมชนเก่าแแก่ริมคลองประชาชมชื่น ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ นิเวศวิทยา และวัฒนธรรม ให้ผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ตลอดเส้นทาง ไม่ว่าจะเป็นเส้นทางธรรมชาติ, วัด, แหล่งผลิตสินค้า OTOP และพิพิธภัณฑ์บ้านดนตรี
-
-
บ้านวัดตาล เป็นชุมชนต้นแบบ “เที่ยวชุมชน ยลวิถี” จังหวัดอ่างทอง เป็นชุมชนที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่ครอบคลุมหลากมิติ ทั้งด้านวิถีชีวิตด้านศาสนา การประกอบอาชีพ งานหัตถกรรม (งานปั้น งานไม้ งานเหล็ก)
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอบนพื้นที่สูงท่ามกลางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับวิถีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน