-
ชุมชนไทเขินต้นแหนหลวงมีการอนุรักษ์สืบสานการแต่งกายด้วยชุดไทเขินทั้งผู้ชายและผู้หญิง พูดภาษาไทเขินในการสื่อสารกันในชุมชน ประกอบอาชีพทำเกษตรปลูกลำไยและพืชผักสวนครัว ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
-
บ้านแม่หอย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือชาวกะเหรี่ยงสะกอ ชุมชนบนพื้นที่เนินสูงกลางหุบเขาที่มีทรัพยากรป่าไม่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อท้องถิ่น
-
การแต่งกายของชาวโส้ ภาษามอญ-เขมร พิธีวันตรุษโส้ เจดีย์บรรจุธาตุของอาจารย์กัณหาอาญาผ้าดำ (เจ้าปู่ผ้าดำ) รอยพุทธบาท วัดพระพุทธบาท สะพานแขวนอนุรักษ์
-
จากดอยหัวแม่คำสู่บ้านเวียงกลาง ลีซูบ้านเวียงกลาง ชุมชนชาติพันธุ์ที่มีประวัติความเป็นมาการอพยพและการก่อตั้งหมู่บ้านมาร่วมร้อยปี
-
เป็นหมู่บ้านใหญ่และเป็นหมู่บ้านแรก ๆ ของชุมชนชาติพันธ์ุกะเหรี่ยง ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่งอาศัยอยู่จำนวนมาก ที่ยังคงสืบทอดประเพณี วิถีปฏิบัติดั้งเดิม เช่น การเลี้ยงผี
-
ชุมชนชาวกูยที่ถือเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทยที่ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่บริเวณนี้
-
ชุมชนชาวมอญโบราณที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย วิถีชีวิตของผู้คนกับสายน้ำ และการรักษาวิถีวัฒนธรรมแบบมอญที่เป็นเอกลักษณ์
-
บ้านห้วยหาด ชุมชน “จิ๋วแต่แจ๋ว” ต้นแบบของการปรับตัวจากวิกฤติในยุคต่าง ๆ เปลี่ยนพื้นที่ไร่เลื่อนลอยเป็นนาข้าว เปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นป่าเขียวขจี นำพาชุมชนที่อ่อนแอเพราะหนี้สินสู่ชุมชนที่แข็งแกร่งได้ด้วยการพึ่งตนเอง
-
"จักจั่นเลิศรส ไข่มดสดอร่อย มีไม่น้อยดอกกระเจียว สีเขียวแหล่งผักหวาน แลตระการเห็ดโคนดิน อุดมถิ่นวัฒนธรรม" นอกจากนี้ บ้านบะหว้าเป็นชุมชนที่มีภาษาพูดเฉพาะถิ่น คือ ภาษาญ้อ
-
บ้านแสนคำลือ ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ชาวมูเซอแดง กับปัญหาการโยกย้ายถิ่นฐาน การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ พัฒนาการของชุมชนและสังคม และเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่น