-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ จากปัญหาโรคระบาดสู่การรับวัฒนธรรมจากการเผยแผ่ศาสนา การเปลี่ยนแปลงความเชื่อและการสร้างชุมชนใหม่
-
ชุมชนที่อาศัยอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ กับการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชน และวิถีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่เป็นเอกลักษณ์
-
หมู่บ้านเล็ก ๆ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้ำยาวและป่าน้ำสวด ชุมชนชาวลัวะที่ยังคงมีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมดังเช่นการ "ตีพิ" ประเพณีการเรียกขวัญข้าวออกจากไร่เพื่อนำไปเก็บยังยุ้งฉาง ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญของการทำเกษตรกรรมที่เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชาวลัวะบ้านน้ำมีดมาอย่างยาวนาน
-
บ้านสุเม่นเหนือ หย่อมบ้านห้วยระแห้ ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูที่มีวิถีชีวิตประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์
-
ชุมชนชาวมอญในแถบชานเมืองฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ เขตลาดกระบัง มีวัดทิพพาวาส เป็นศูนย์กลางของชุมชนซึ่งเป็นวัดมอญเก่าแก่อายุกว่า 100 ปีมีอุโบสถไม้สักทอง และยังรักษาวัฒนธรรมประเพณีมอญ เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง ประเพณีตักบาตรพระร้อย ประเพณีการทำบุญกลุ่มเทศน์ ประเพณีการทิ้งบาตร ประเพณีเกี่ยวการบวช ประเพณีเกี่ยวกับความตาย วัฒนธรรมด้านอาหาร เช่นข้าวแช่ แกงกระเจี๊ยบ แกงมะตาด แกงบอน ปลาร้ามอญ ขนมกาละแม ข้าวเหนียวแดง กระยาสารท
-
ชุมชนที่ยังคงพูดภาษาถิ่น ภาษาลื้อ พึ่งพิงวิถีเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อการยังชีพและขาย
-
หลีกเร้นความวุ่นวายจากป่าปูน ล่องแพตามเขื่อนวชิราลงกรณสู่หมู่บ้านกลางน้ำ "ปิล๊อกคี่" สัมผัสความเงียบสงบและงดงามของทรัพยากรธรรมชาติที่หลายคนถวิลหา
-
ชุมชนริมน้ำโรคี่ หนึ่งในกลุ่มบ้านสมาชิกวิสาหกิจกาแฟไล่โว่ วิสาหกิจจาก 5 กลุ่มบ้านที่อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอบนพื้นที่สูงท่ามกลางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับวิถีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
-
-
ชุมชนที่มีชาวไทยพวนอพยพเข้ามาอาศัยอยู่และเคยมีภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำหัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องจักสาน