-
-
ชุมชนกะเหรี่ยงที่ยังคงสืบทอดประเพณีและวิถีชีวิตดั้งเดิมไว้อย่างเคร่งครัด สืบทอดภูมิปัญญาดังเดิม คือ ผ้าทอกระเหรี่ยง เช่น การทอผ้าด้วยกี่เอว งานจักสาน เช่น ซอชิหรือกรงขังไก่ ไหน่หรือตระกร้าใส่ของ
-
เป็นชุมชนริมห้วยแม่จวาง มีน้ำตก และดอยทูเล เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรป่าไม้
-
ในอดีตเคยได้รับฉายาว่าเป็นหมู่บ้านที่ยากจนที่สุดในจังหวัดที่พัฒนาตัวเองด้วยการจัดตั้งธนาคารชุมชนจนได้รับรางวัลหมู่บ้านสารสนเทศดีเด่นประจำปี 2558 ของกรมพัฒนาชุมชน
-
ป่าไม้สมบูรณ์ เป็นแหล่งหาเห็ดโคน มีวัดบ่อเก่าบน เป็นแหล่งรวมศรัทธา และประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา วัดสงบร่มรื่นด้วยต้นไม้ มีศาลากลางน้ำและโบสถ์ที่สวยงาม
-
มุ่งมั่นพัฒนา ชาวประชามีส่วนร่วม ศูนย์รวมหมู่บ้านเข้มแข็ง เป็นแหล่งเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมเคียงกันต่อต้านยาเสพติด
-
ชุมชนชาติพันธุ์ มีประเพณีสำคัญ อาทิ ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ ประเพณีมัดมือ/ลาขุ ประเพณีเลี้ยงผี
-
ชุมชนชาวไทยรามัญที่สามารถรักษาอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ได้อย่างเข้มข้นในด้านภาษา ศาสนา ความเชื่อ ประเพณี และเทศกาล จนปรากฏเห็นอย่างเด่นชัด เป็นที่รู้จักและจดจำได้ในวงกว้าง
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอ การอยู่ร่วมกันของคนกับป่า และประเพณีสำคัญที่ยึดโยงกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การนับถือฤาษีที่เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจคนในชุมชน ทำให้บ้านหม่องกั๊วะมีบทบาทสำคัญในการดูแลรักษาธรรมชาติในฐานะกลุ่ม "ต้นทะเล"
-
อ่างเก็บน้ำห้วยหนองคางตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 “มีความเป็นอยู่ดี มีความสามัคคีรักใคร่ เอื้ออาทรต่อกัน”