-
เครือข่ายชาวประมงพื้นบ้านที่มีจุดเริ่มต้นเล็ก ๆ จากการทำแพปลา สู่การก่อตั้งธนาคารปูม้าเพื่อฟื้นวิถีการทำประมงที่รับผิดชอบต่อทะเลและรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติ
-
ชุมชนเข้มแข็ง อยู่ดีมีสุข มีความสามัคคี เป็นที่ยอมรับของชุมชนต่าง ๆ ดำรงชีพแบบยั่งยืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
-
ระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน นอกจากนี้พื้นที่ในชุมชนบ้านขุนแม่เหว่ย ยังแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ พื้นที่ป่าตามความเชื่อ ป่าอนุรักษ์ ป่าใช้ประโยชน์ พื้นที่ป่าตามโครงการของรัฐ
-
ชุมชนมีการอนุรักษ์สืบทอดวิถีการแสดงดนตรีกะเหรี่ยง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติน้ำตกบ่อหวี จุดชมวิวห้วยคอกหมู ชายแดนไทย-เมียนมา และเป็นที่ตั้งโครงการฟาร์มตัวอย่างตามแนวพระราชดำริบ้านบ่อหวี แหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัด
-
บ้านไล่โว่ - สาละวะ เป็นชุมชนชาติพันธุ์โผล่วที่มีวิถีวัฒนธรรมที่โดดเด่นในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำไร่หมุนเวียนซึ่งเป็นวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมตั้งแต่อดีตทำให้มีความเชื่อเรื่องการอยู่ร่วมกับผืนป่าและยังมีวัฒนธรรมที่ส่ต่อมายังลูกหลาน เช่นประเพณีฟาดข้าว ประเพณีบุญข้าวใหม่ ประเพณีผูกข้อมือ ฯลฯ
-
ชุมชนมีเขาหินผาตั้งอยู่สง่า มีวัด โรงเรียน ทุ่งนา ป่าไผ่หนาม การทำเหมืองแร่ มีการเลี้ยงสัตว์โค กระบือ และประกอบอาชีพเกษตรกรรม
-
ชุมชนริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทย พื้นที่ที่มีทรัพยากรสัตว์น้ำเค็มมากที่สุดในปี พ.ศ. 2548 โดยเฉพาะปูม้า ทำให้อาชีพการทำประมงปูม้าเป็นอาชีพที่สร้างรายได้อย่างมหาศาลให้แก่ชุมชน เกิดเป็นแนวคิดจัดตั้ง “ธนาคารปูม้า” เพื่อสร้างระบบในการบริหารจัดการปูม้า เพื่ออนุรักษ์ปูม้าให้คงเป็นทรัพยากรทางทะเลที่อุดมสมบูรณ์และเป็นสัตว์เศรษฐกิจของชุมชนต่อไป
-
หมู่บ้านกะเหรี่ยงโปว์ที่น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต พื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำและมีความหลากหลายในคติความเชื่อของผีบรรพบุรุษรวมถึงการเปิดรับความเชื่อทางศาสนาตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรม
-
เป็นชุมชนย่านการค้าเก่าแก่ที่มีการตั้งถิ่นฐานอยู่โดยรอบบริเวณสถานรีรถไฟบางสะพานน้อย มีวัดคลองน้ำเค็ม เป็นศาสนสถานสำคัญประจำชุมชน และมีถ้ำเขานกแสกและถ้ำเขาพัสดุ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม
-
การรวมตัวกันของผู้คนจากหลายพื้นที่เพื่อแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จนกลายเป็นชุมชนท่ามกลางธรรมชาติที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และมีวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
เป็นชุมชนชาวไทยและกะเหรี่ยง ซึ่งอพยพจากริมแม่น้ำแควใหญ่เข้ามาอยู่ในพื้นที่บ้านปากนาสวน โดยภายในบริเวณวัดศรีเกษตรารามมีอุโบสถไม้เก่าแก่ที่สร้างด้วยไม้ประดู้ทั้งหลัง