-
หมู่บ้านที่มีความรักความสามัคคี เป็นชุมชนไม่มีมลพิษ วิถีชีวิตชนบท หมู่บ้านพอเพียงต้นแบบ แหล่งเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหมู่บ้าน สามารถส่งน้ำใช้ในการเกษตรได้ทั่วถึง
-
พื้นที่ราบลุ่ม ลักษณะเป็นดินร่วนอยู่โดยรอบหมู่บ้าน เหมาะแก่การเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทั้งยังมีประเพณีวัฒนธรรมตามวิถีล้านนา
-
บ้านท่าศาลาเป็นชุมชนที่มีการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาซึ่งกันและกัน มีความผูกพันใกล้ชิดกันกับสมาชิกในหมู่บ้านเดียวกัน มีการผลิตที่เน้นการบริโภคและแลกเปลี่ยนของครัวเรือนและคนในหมู่บ้าน
-
ชาวบ้านป่าคานอก มีรูปแบบการทำไร่หมุนเวียนโดยยึดโยงเอาคติความเชื่อ จารีต ประเพณีดั้งเดิมของชาวกะเหรี่ยงเข้ามาเป็นส่วนสำคัญของวิถีการทำไร่
-
แม่น้ำอิงไหลผ่าน ตั้งตระหง่านพระธาตุภูขวาง แตงโมรสหวาน ภูลานหินดอยโล้นงามยิ่ง
-
ชุมชนและวัดเก่าแก่สำคัญใจกลางเมืองสงขลา กับสถาปัตยกรรมที่งดงามเป็นเอกลักษณ์ และเสน่ห์วัฒนธรรมท้องถิ่น
-
"กู่ฤาษี" ปราสาทหินโบราณ พุทธศาสนสถานเก่าแก่นิกายมหายาน ร่องรอยอารยธรรมขอมแถบอีสานใต้ในอดีต อโรคยาศาลหรือสถานพยาบาลแห่งราชอาณาจักรขอม ศูนย์รวมศรัทธาของผู้คนมานานหลายร้อยปี
-
บ้านโป่งคำ ชุมชนเก่าแก่ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวพวนที่อพยพย้ายถิ่นฐานมากจากประเทศลาว การเข้ามาของผู้คน วิถีชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
-
มุ่งมั่นพัฒนา ชาวประชามีส่วนร่วม ศูนย์รวมหมู่บ้านเข้มแข็ง เป็นแหล่งเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมเคียงกันต่อต้านยาเสพติด
-
อดีตชุมทางเกวียนที่สำคัญของอำเภอสะเดา เป็นถิ่นฐานของบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เป็นผู้นำของตำบลปริกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนพิทักษ์ ขุนดำรง ขุนภิรมย์ ณ ปริกคาม (นายหมาด ยีขุน)