-
เคยเป็นพื้นที่ของชาวลัวะมาก่อน ต่อมามีการเคลื่อนย้ายกลุ่มคนและเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่โดยกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ มีการอยู่อาศัยและทำกินบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าร้อยปี เดิมเป็นหย่อมบ้านที่ขึ้นกับหมู่ที่ 6 บ้านแม่ลานคำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้ทำการแยกเป็นหมู่บ้านป่านอก หมู่ที่ 11
-
ก่อตั้งหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ. 2500 มีศาสนสถาน โบราณสถาน คือ วัด โรงเรียน ศาลพ่อบ้าน และศาลาใจบ้าน เป็นที่เคารพนับถือ
-
ชุมชนเกษตรกรรมจากสภาพแวดล้อมที่ตั้ง จนก่อให้เกิดการรังสรรค์งานหัตถกรรมจักสานเครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่สีสุกอันมีเป็นจำนวนมากในพื้นที่ชุมชน
-
-
ชุมชนปกาเกอะญอที่ก่อตั้งมานานเกือบ 100 ปี แหล่งอนุรักษ์วัฒนธรรมสืบสานและวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชาวกะเหรี่ยงสะกอผ่านการเปิดให้นักท่องเที่ยวได้เข้าไปเยือนเพื่อสัมผัสกับประสบการณ์ เรียนรู้ ศึกษาวิถีชีวิตอย่างใกล้ชิดกับคนในชุมชน และสัมผัสแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่อยู่ห่างจากหมู่บ้านไม่ไกลนัก คือ ประตูผา ถ้ำหินธรรมชาติที่มีลำธารไหลผ่านตรงกลาง
-
ชุมชนบ้านแม่ใจและชุมชนบริเวณใกล้เคียงรวมถึงวัดศรีสุพรรณ ร่วมกันจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ของชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติของชุมชนด้านศาสนา โดยตั้งอยู่ที่วัดศรีสุพรรณและใช้ชื่อว่าพิพิธภัณฑ์วัดศรีสุพรรณ
-
-
การรวมตัวของผู้คนจากหลายชุมชนมาอยู่ร่วมกันในพื้นที่จัดสรรจากทางการ เนื่องจากผลกระทบการสร้างเขื่อนในที่ชุมชนเดิม สู่การเริ่มต้นชีวิตใหม่แต่ยังคงรักษาวิถีดั้งเดิมเอาไว้ได้เป็นอย่างดี
-
-
อ่างเก็บน้ำห้วยหนองคางตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 “มีความเป็นอยู่ดี มีความสามัคคีรักใคร่ เอื้ออาทรต่อกัน”
-
อดีตชุมทางเกวียนที่สำคัญของอำเภอสะเดา เป็นถิ่นฐานของบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เป็นผู้นำของตำบลปริกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนพิทักษ์ ขุนดำรง ขุนภิรมย์ ณ ปริกคาม (นายหมาด ยีขุน)