-
ห่างออกไปจากตัวเมืองแพร่ไม่ไกลนัก มีชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งแห่งเดียวในประเทศไทยที่ผู้คนยังคงสื่อสารด้วยภาษาอึมปี้ท่ามกลางความหลากหลายของชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนใกล้เคียง ผู้คนที่นี่ยังคงสืบสานภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็เรียนรู้รับปรับตัวกับพลวัตทางวัฒนธรรมประเพณีที่อยู่รายล้อมได้อย่างลงตัว
-
-
-
บ้านแม่สะป๊อก ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอและชนพื้นเมือง กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติ ผืนป่า แหล่งน้ำ และสภาพแวดล้อมที่สวยงาม
-
ชาวบางแก้วมีภาษาที่คล้ายคลึงกันกับผู้คนในภาคกลาง แต่มีลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ว่าเป็นชาวบางแก้วบ้างก็ตรงที่หางเสียงเวลาลงท้ายประโยคที่สนทนามักมีคำว่า “เน้อ หรือ เนอะ” ติดอยู่ด้วยเสมอ ในบางแก้วมีทั้งคนจีนแต้จิ๋ว จีนไหหลำและคนไทยที่มีความสัมพันธุ์อันดีในแง่ของการผลิต พ่อค้าคนกลางหรือชาวนาไร่ผู้เพาะปลูก
-
สัมผัสวิถีการเกษตรแบบบ้าน ๆ เดินเท้าต่อแถวหิ้วตะกร้าเก็บผักผลไม้สดตามฤดูกาลจากสวน ลัดเลาะคูนาสำรวจนาข้าวสีเขียวขจี จิบกาแฟอุ่น กลิ่นหอมกรุ่นท่ามกลางธรรมชาติและอากาศเย็นสบาย
-
-
บ้านห้วยลึก ชุมชนที่ตั้งชื่อตามแม่น้ำที่ไหลผ่านกลางหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ปลูกผักชี หอม บางครัวเรือนมีรายได้เสริมจากการปลูกเห็ด เลี้ยงครั่ง จักสาน เย็บกระเป๋า
-
หาดทรายแก้ว ชุมชนชาวประมงริมอ่าวท่าชนะ พื้นที่ที่ยังคงรักษารูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตดั้งเดิมไว้ได้ ภายใต้พลวัตความเปลี่ยนแปลงและอิทธิพลทางวัฒนธรรมสมัยนิยมที่เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตคนในชุมชน
-
หมู่บ้านกะเหรี่ยงโปว์ที่น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต พื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำและมีความหลากหลายในคติความเชื่อของผีบรรพบุรุษรวมถึงการเปิดรับความเชื่อทางศาสนาตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรม
-
ศูนย์เรียนรู้ผ้าทอที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการทอผ้าไทดำ กลุ่มผ้าฝ้ายพื้นเมืองบ้านนาป่าหนาด