-
บ้านป่ากั้ง ชุมชนเก่าแก่กับการย้ายถิ่นฐานเนื่องจากผลกระทบจากระบบพัฒนาแหล่งน้ำท้องถิ่น และวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อดั้งเดิมที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน
-
ชุมชนเกษตรกรรมที่มีเรือนทรงไทยอยู่หลายหลังในพื้นที่ ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตทำตาลโตนดที่มีชื่อเสียง เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีคลองบางจากไหลผ่านทางด้านทิศตะวันตกของตำบล เหมาะสำหรับทำนาและทำตาล (น้ำตาลโตนด)
-
หมู่บ้านชาวลีซูที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าไปชมวิถีชีวิตของชาวลีซู มีหัตถกรรมงานทอผ้าของชาวลีซูที่เป็นเอกลักษณ์ และแหล่งโบราณคดีประเภทถ้ำผีแมน
-
ชุมชนบ้านใหม่พัฒนา ชุมชนพหุวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ท่ามกลางพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงในชุมชน
-
วัดข่วงเปา หรือวัดไร่ข่วงเปา ศาสนสถานสำคัญของชุมชนที่สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2280 สามารถแวะเข้าไปกราบไหว้ขอพร พระเจ้าทันใจ พระเจ้าสุขใจ สักการะพระธาตุเจดีย์ข่วงเปาชัย รูปเหมือนครูบากลิ่นกู้ ฯลฯ
-
บ้านปางแดงนอก ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ดาราอางที่อพยพถิ่นฐานเข้ามาในอำเภอเชียงดาวเพื่อการแสวงหาพื้นที่ทำกิน กับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางสังคมกลายเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม
-
ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่มีแม่น้ำปราณบุรีไหลผ่าน ทำให้บ้านฝั่งท่ามีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งในด้านการเกษตร พืชพรรณ สัตว์น้ำและนกมากมาย นำไปสู่การพัฒนาเป็นศูนย์ท่องเที่ยวเชิงเกษตรบ้านฝั่งท่าซึ่งเปิดดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2539
-
ชุมชนมอญใจกลางเมืองเชียงใหม่ ที่ยังคงรักษาและสืบทอดประเพณีพิธีกรรมของกลุ่มเม็งหรือมอญ
-
ชุมชนบ้านสามสบบน ในพื้นที่บริเวณจุดบรรจบของลำห้วยใหญ่สามสาย เรียกว่า “สามสบ” พื้นที่อยู่อาศัยของชาวไทยภูเขากะเหรี่ยง (สะกอ) กับวิถีชีวิตที่ผูกพันกับธรรมชาติ
-
ชุมชนชาวโย้ยที่อากาศอำนวยได้มีการจัด "วันไทโย้ย" ในวันขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 เพื่อรำลึกถึงบรรพบุรุษ เป็นประจำทุกปี วันไทโย้ยจึงถือเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองชาติพันธุ์และเผยแพร่อัตลักษณ์ของชาวไทโย้ยต่อสาธารณชน ซึ่งนับว่าเป็นเทศกาลสำคัญที่ชาวไทโย้ยที่มีความโดดเด่นและปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจนในปัจจุบัน