-
หมู่บ้านพื้นที่สูง อากาศดีเย็นตลอดทั้งปี มีผลไม้เมืองหนาว ผักพืชผล อาทิ พีช พลับ พลัม ลูกเชอรี่ มะม่วงนอกฤดู ชุมชนยังคงเอกลักษณ์ ด้านการแต่งกาย ภาษา ดนตรีลีซูปละผืนป่าที่ยังคงเดิมและต้นไม้ที่หนาแน่น
-
การตั้งถิ่นฐานอยู้ริมแม่น้าลำคลอง ซึ่งเป็นที่ราบลุ่มเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม อยู่รวมกันเป็นกลุ่มที่ตำบลป่าตาลแห่งนี้จากการที่บรรพบุรุษได้อพยพมาจากเวียงจันทน์จึงได้นำวัฒนธรรมของชาวเวียงจันทน์มาใช้ในการดำรงวิถีชีวิต
-
บ้านทุ่งแป้งเป็นชุมชนท้องถิ่นที่มีความศรัทธาในศาสนาพุทธ ชุมชนท้องถิ่นที่มีความศรัทธาในศาสนาพุทธ มีวัดมงคลทุ่งแป้งเป็นวัดเก่าแก่ มีอายุประมาณ 500 ปีขึ้นไป ภายในวัดปรากฎซากโบราณสถาน ได้แก่ ซุ้มประตูโขงทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันตก นอกจากนี้ยังมีวิหารเก่าที่มีความสวยงามภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ซึ่งวิหารดังกล่าวปัจจุบันได้รับการบูรณะเป็นที่เรียบร้อยแต่ยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์และความสวยงามดั้งเดิม
-
ชุมชนเกษตรกรรม น้อมนำศาสตร์พระราชาพัฒนาภูมิปัญญา "ผ้าขาวม้าย้อมคราม" สู่การสร้างเศรษฐกิจชุมชน
-
ชุมชนเมืองขนาดใหญ่บนพื้นที่ทางการรถไฟแห่งประเทศไทย กับพัฒนาการของสังคมและการพัฒนาชุมชน
-
เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์อายุราวคราวเดียวกับเมืองเชียงใหม่และลำพูน หรือมีอายุประมาณ 400 - 700 ปี สังเกตจากการพบเห็น ซากโบราณสถาน ซากโบราณวัตถุต่างๆ เช่น ถ้วยชาม เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา หิน อิฐ ซากปรักหักพังที่ทับถมกันมาเป็นเวลาช้านาน ไม่ว่าจะเป็นบริเวณที่อยู่อาศัย ที่นา ที่สวน ที่ไร่ และเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมและพิธีกรรมความเชื่อ ที่มีความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
-
บ้านตูบค้อ ชุมชนชาติพันธุ์ม้งในพื้นที่ภาคอีสาน ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สู่การเปลี่ยนแปลงของชุมชน และความโดดเด่นทางวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
ภาพเขียนสีเพิงผากึ้ดสามสิบเล่าเรื่องราวความเป็นมาของพื้นที่ที่สันนิษฐานว่ามีผู้คนอาศัยอยู่มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มรดกทางโบราณคดีของชุมชนบ้านกึ้ดสามสิบ
-
"จักจั่นเลิศรส ไข่มดสดอร่อย มีไม่น้อยดอกกระเจียว สีเขียวแหล่งผักหวาน แลตระการเห็ดโคนดิน อุดมถิ่นวัฒนธรรม" นอกจากนี้ บ้านบะหว้าเป็นชุมชนที่มีภาษาพูดเฉพาะถิ่น คือ ภาษาญ้อ