-
ด้วยความเชื่อท้องถิ่นที่ยังคงผูกติดจิตวิญญาณการนับถือผีบรรพบุรุษจึงปรากฏ พิธีการเลี้ยงผีปู่ตา พิธีกรรมสัญลักษณ์แห่งการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ยังคงจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี
-
ชุมชนที่ดำรงชีวิตแบบสังคมพหุวัฒนธรรม มีทั้งชาวไทยพุทธ ชาวไทยมุสลิมและชาวไทยเชื้อสายจีนและชนชาติอื่น ๆ ซึ่งแต่ละกลุ่มยังคงดำรงอัตลักษณ์ของตนเองไว้ได้อย่างเข้มแข็ง ภายใต้การอยู่ด้วยกันอย่างสงบสุข
-
บ้านห้วยหวายพัฒนาได้การสร้างพื้นที่จำลองภูมิปัญญา “ตำน้ำกิน” หรือ “ซ้อมน้ำ” เพื่อสาธิตวิธีการตำน้ำกินให้กับนักท่องเที่ยว เพื่อดึงศักยภาพ เอกลักษณ์ วิถีวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นจุดเด่นของชุมชน
-
บ้านห้วยลึก ชุมชนที่ตั้งชื่อตามแม่น้ำที่ไหลผ่านกลางหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ปลูกผักชี หอม บางครัวเรือนมีรายได้เสริมจากการปลูกเห็ด เลี้ยงครั่ง จักสาน เย็บกระเป๋า
-
ชุมชนประวัติศาสตร์เมืองท่าทอง เมืองโบราณเก่าแก่ที่ได้รับเอาศิลปวัฒนธรรมศรีวิชัยมาจากเมืองไชยา แหล่งรวบรวมเรื่องราวประวัติศาสตร์เมืองท่าทองและโบราณวัตถุที่มีคุณค่าสันนิษฐานอายุตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
-
แหล่งเรียนร่องรอยรู้ทางประวัติศาสตร์ชาติตั้งแต่สมัยสงครามโลก และชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ที่ก่อรูปตั้งถิ่นฐานเป็นหมู่บ้านกว่า 30 ปี
-
ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ท่องเที่ยวทางทะเลน้ำใสในอ่าวไทย อย่าง เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี อีกทั้งยังอยู่ในพื้นที่ที่เคยเป็นพระราชวังฤดูร้อนในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากเหตุการณ์วิกฤต ร.ศ.112 คือ พระจุฑาธุชราชฐาน