-
การอยู่รวมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวบน ไทยลาว และไทยโคราช ซึ่งมีความต่างกันด้านภาษา การแต่งกาย คติความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ทำให้บ้านน้ำลาดเกิดการแบ่งแยกคุ้มบ้านออกเป็น 3 คุ้มคือ คุ้มน้ำลาด คุ้มซับหงส์ และคุ้มซับเจริญ
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่ย้ายถิ่นฐานมาจากประเทศจีน เข้าสู่พื้นที่ประเทศไทยเพื่อแสวงหาที่อยู่ใหม่บนพื้นที่ทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ จนกลายเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อกับประวัติศาสตร์ชุมชนที่น่าสนใจ และ "พระเจ้านั่งแท่น" พระพุทธรูปโบราณ ศูนย์รวมศรัทธาชุมชน
-
ชุมชนเก่าแก่ที่มีการตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณโดยรอบสถานีรถไฟบ้านกรูด ปรากฏสถาปัตยกรรมประเภทเรือนไม้ 2 ชั้น หลังคามุงด้วยกระเบื้องว่าว กระจายตัวอยู่ทางฝั่งตะวันออกของสถานีรถไฟ มีวัดดอนยางเป็นศาสนสถานสำคัญประจำชุมชน และมีหาดบ้านกรูดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม และเป็นที่นิยมของทักท่องเที่ยว
-
ชุมชนที่มีการจัดตั้งสภาวัฒนธรรมหมู่บ้านแห่งแรกของประเทศไทยและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหมู่บ้านวัฒนธรรมแห่งแรกของประเทศไทย ในปี 2540
-
วัฒนธรรมมอญรามัญ วัดดอนกระเบื้อง จุดศูนย์รวมชุมชน ที่มีอายุเก่าแก่สืบมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2
-
ชุมชนต้นแบบแห่งการต่อสู้เพื่อเรียกร้องทวงสิทธิและความยุติธรรมจากหน่วยงานรัฐ ให้ได้มาซึ่งความเท่าเทียมและสวัสดิการพื้นฐานที่ประชาชนชาวปากมาบพึงได้รับเช่นเดียวกับหมู่บ้านอื่นที่อยู่บริเวณโดยรอบ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มประมงบ้านปากมาบพัฒนา
-
-
ชุมชนเข้มแข็ง มีแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่เพื่อการเกษตรเพียงพอ มีความอุดมสมบูรณ์ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ ได้รับสวัสดิการครบครัน คนมีคุณภาพชีวิตดี ภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
-
ชุมชนและวัดเก่าแก่แห่งเมืองสงขลากับพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางสัมคมจากอดีตถึงปัจจุบัน
-
ชุมชนที่มีราษฎรอพยพมาจากเมืองเวียงจันทร์ เข้ามาตั้งถิ่นฐานทำมาหากินแถบเชิงเขาบริเวณหมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระในปัจจุบัน